วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2555

"การแทรกตาราง

        ในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ นั้น จะเห็นว่าการนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง จะทำให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น สามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง ๆ ของข้อมูลได้อย่างชัดเจน นอกจากประโยชน์ดังกล่าวในการสร้างเว็บเพจนั้น ตารางยังสามารถนำมาช่วยในการจัดรูปแบบของจอภาพบนเว็บเพจได้อีกด้วย เพื่อแบ่งแยกหน้าเว็บเพจออกเป็น ส่วน ๆ เกิดความเป็นระเบียบและความสวยงามมากขึ้น

ในการสร้างตารางนั้น ในเบื้องต้นต้องใช้คำสั่งหรือแท็กดังต่อไปนี้

<table>...</table>     เป็นการบอกจุดเิ่ริ่มต้นและจุดสิ้นสุดในการสร้างตาราง
<tr>....</tr>             เป็นการบอกจำนวนแถว (row)
<td>...</td>
            เป็นการบอกจำนวนคอลัมน์ (colunm)


ตัวอย่างการใช้คำสั่ง



ผลลัพธ์



จากตัวอย่างจะเห็นว่าไม่ปรากฎเส้นตารางขึ้นมาบนหน้าเว็บเพจ หากต้องการให้มีเส้นตาราง ต้องมีการใช้คุณสมบัติหรือแอททริบิวต์  border  ช่วย ซึ่งจะต้องเขียนไว้ในแท็ก <table> ดังนี้      

        <table border="1">

        นอกจากความหนาของเส้นตารางแล้ว ยังมีแอททริบิวต์ที่กำหนดสีของเส้นตาราง bordercolor ความห่างของช่องเซล์   cellspacing และการเว้นระยะ ระหว่างข้อมูลในเซลล์ กับกรอบเซลล์  cellpadding โดยใช้แอททริบิวต์ดังต่อไปนี้ bordercolor,cellspacing และ cellpadding เขียนต่อท้่ายในแท็ก <table> ดังนี้
       

<table border="1" bordercolor="blue" cellspacing="5" cellpadding="10">
border="1" หมายความว่าให้ตีเส้่นด้วยความหนาของเส้น 1 จุด (pixel) หากไม่ต้องการเส้นให้กำหนดค่าเป็น "0" หรือไม่ต้องใช้แอททริบิวต์นี้
bordercolor="ค่าสี" หมายถึงกำหนดสีเ้ส้นตาราง สามารถระบุค่าสี เช่น "blue" คือสีน้ำเงิน หรือใส่เป็นค่าตัวเลขฐานสิบหกก็ได้ 
cellspacing="5" หมายถึงระยะห่างระหว่างช่องเซลล์มีค่าเป็น 5 จุด (pixel)
cellpadding="10" หมายถึงระยะห่างระหว่างข้อมูลในเซลล์กับกรอบเซลล์มีค่าเป็น 10 จุด (pixel)

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง



ผลลัพธ์




การกำหนดความกว้างความสูง
      การกำหนดความกว้างและความสูงให้กับตารางโดยใช้แอททริบิวต์ width และ height ในแท็ก <table> ซึ่งสามารถกำหนดได้ 2 รูปแบบดังนี้

   1.กำหนดเป็นเปอร์เซ็น ซึ่งจะปรับขนาดตารางตามขนาดหน้าจอของเบราว์เซอร์ในขณะนั้น
 
           <table width="50%" height="60%">

   2.กำหนดความกว้าง และความยาวเป็นจุด   (pixel)   ซึ่งขนาดตารางจะไม่ปรับตามขนาดหน้าจอของเบราว์เซอร์ในขณะแสดงผล วิธีนี้จะไม่ทำให้ตารางและข้อมูลในตารางขยับเปลี่ยนตำแหน่ง
           <table width="400" height="200">

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง


ผลลัพธ์



การจัดตำแหน่งตาราง

 ตารางสามารถจัดตำแหน่งให้อยู่ ชิดซ้าย ชิดขวา หรือตรงการเซลล์ได้ โดยการใช้ แอททริบิวต์ align="ตำแหน่งของตาราง"

 "ตำแหน่งของตาราง" มีดังนี้
                    "center" หมายถึง อยู่ตรงกลางเซลล์
                    "left"     หมายถึง อยู่ชิดด้านซ้ายเซลล์
                    "right"   หมายถึง อยู่ชิดด้านขวาเซลล์

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง



ผลลัพธ์



การรวมเซลล์

colspan="x"   [การผสานคอลัมน์โดยที่ x เป็นจำนวนคอลัมน์ที่ต้องการรวม]

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง


ผลลัพธ์




rowspan="x"   [การผสานแถวโดยที่ x เป็นจำนวนแถวที่ต้องการรวม]

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง



ผลลัพธ์





วันที่ 2 กันยายน 2555











 





วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

การแทรกรูปภาพ

การแทรกรูปภาพ

การแทรกภาพ
ตามปกติภาพที่จะใช้แสดงในเว็บเพจ นิยมใช้ภาพที่มีชื่อสกุลของภาพเป็น .JPG หรือ .GIF เพราะเป็นไฟล์ภาพที่มีขนาดเล็ก สามารถแสดงผลได้รวดเร็ว จึงไม่ต้องเสียเวลาในการรอให้ภาพปรากฏนานเกินไป

ไฟล์รูปภาพอยู่ที่เดียวกับเว็บเพจ


คำสั่งที่ใช้ในการใส่แฟ้มภาพลงเว็บเพจ (Web Page)

                            คำสั่ง <IMG SRC> (Image Source)  เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับใส่รูปภาพลงในเอกสาร HTML  โดยที่ไฟล์รูปภาพต่าง ๆ ที่ต้องการนำมาใส่ในเอกสาร HTML  นั้น  จะต้องถูกเก็บอยู่ในโฟลเดอร์เดียวกันกับเอกสาร HTML เท่านั้น  แต่ถ้าอยู่คนละแห่งก็สามารถนำมาใส่ได้   โดยการกำหนดไดร์ฟและโฟลเดอร์ของไฟล์ที่รูปภาพนั้นอยู่ไว้ด้วย    มีรูปแบบการใช้คำสั่งดังนี้

<IMG SRC="ชื่อภาพ/นามสกุลไฟล์ภาพ">  เช่น
          <IMG SRC="dogy.jpg/gif">



ตัวอย่างการใช้คำสั่ง


                                                                     
ผลลัพธ์



ไฟล์ภาพอยู่คนละที่กับเว็บเพจ

<IMG SRC=" ชื่อไฟล์ที่รูปอยู่/ชื่อรูปภาพ.jpg / gif ">



ตัวอย่างการใช้คำสั่ง







ผลลัพธ์





การปรับขนาดรูปภาพ 
    
     <IMG SRC="ชื่อภาพ" WIDTH=ขนาดความกว้าง HEIGHT=ขนาดความสูง>                 
เช่นภาพชื่อ girl.jpg มีขนาดความกว้าง 300 และความสูง 360 จะใช้คำสั่งแสดงภาพเป็น

<IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg/gif"  WIDTH=300  HEIGHT=360> 
                                              ตัวอย่างการใช้คำสั่ง 
             

ผลลัพธ์





การจัดตำแหน่งรูปภาพ

1.กำหนดภาพให้อยู่ทางซ้ายเพิ่มคำสั่ง LEFT ไว้ในคำสั่งแสดงภาพ เช่น

               <LEFT><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></LEFT>

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง



ผลลัพธ์





2. กำหนดให้ภาพอยู่กึ่งกลางเพิ่มคำสั่ง CENTER ไว้ในคำสั่งแสดงภาพ เช่น

               <CENTER><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></CENTER>

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง



ผลลัพธ์




3. กำหนดให้ภาพอยู่ทางขวาเพิ่มคำสั่ง RIGHT ไว้ในคำสั่งแสดงภาพ เช่น

        <P ALIGN =RIGHT><IMG SRC="ชื่อภาพ.jpg" ></ RIGHT>

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง



ผลลัพธ์





ที่มาค่ะ :
 https://sites.google.com/site/cirayus/sux-kar-reiyn-ru/5-kar-si-rupphaph-lng-webphec
 http://www.yupparaj.ac.th/CAI/32102/image1.html


วันที่ 1 กันยายน 2555

วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

"การแต่งตัวอักษร"


1.การกำหนดแบบอักษร

รูปแบบ tag code 

<font face="เลือกแบบอักษร">ข้อความ</font>

ตัวอย่างการเขียน
    
<font face="_Layiji MaHaNiYom V 1.2">Name Nidchada kosit</font>
<font face="05_ZZ Death Note 1.0">Nickname som</font> 

code ที่เขียนลงใน Note pad



แสดงผล code




2.ขนาดตัวอักษร

รูปแบบ tag code 

        <font size="เลือกขนาดตัวอักษร">ข้อความ</font>

ตัวอย่างการเขียน

<font size="7">Name</font>
<font size="6">Nidchada</font>
<font size="5">kosit</font>

code ที่เขียนลงใน Note pad


แสดงผล code


 3.สีตัวอักษร
สามารถเขียนได้ 2 แบบคือ
1.สามารถระบุชื่อสีได้เลย  2.ใส่รหัส code สี (ใช้เพื่อต้องการสีที่ละเอียด สีเข้ม/สีอ่อน)

รูปแบบ tag code
  
         <font color="ระบุสี/code">ข้อความ</font>
ตัวอย่างการเขียน

   แบบระบุสี  <font color="Orange">Name som</font>
           <font color="Bule">My Favorite color : Pink</font>
   
แบบcode <font color="D02090">No.22</font>

รหัส code สี





 code ที่เขียนลงใน Note pad


แสดงผล code
 




4.ตัวเอียง ตัวหนา ขีดเส้นใต้

รูปแบบ tag code

           ตัวเอียง  <I>ข้อความ</I>
           ตัวหนา  <B>ข้อความ</B>
           ขีดเส้นใต้ <U>ข้อความ</U>
ตัวอย่างการเขียน

                       <I>ตัวเอียง</I>
              <B>ตัวหนา</B>
              <U>ขีดเส้นใต้</U>
code ที่เขียนลงใน Note pad


แสดงผล code



                              


5.ตัวขีดฆ่า ตัวยก ตัวห้อย

รูปแบบ tag code

  ตัวขีดฆ่า  <del> ข้อความที่ต้องการขีดฆ่า </del><del> Nidchdad </del> 
  ตัวยก   <sup> ข้อความหรือตัวเลข<sup>ข้อความหรือตัวเลขที่ต้องการยก</sup
  ตัวห้อย  <sub> ตัวอักษรหรือตัวเลข<sub>ตัวอักษรหรือตัวเลขที่ต้องการห้อย</sub>

ตัวอย่างการเขียน
<sup> 2<sup>2</sup>,3<sup>3</sup>
<sub> 2MnO<sub>4</sub>,H<sub>2</sub>
code ที่เขียนลงใน Note pad

แสดงผล code



6.ตัวอักษรวิ่ง ตัวอักษรกระพริบ

รูปแบบ tag code

ตัวอักษรวิ่ง    <Marquee>ข้อความ</Marquee>
อักษรกระพริบ  <Blink>ข้อความ</Blink>

ตัวอย่างการเขียน

ตัวอักษรวิ่ง    <Marquee>somlim</Marquee>
อักษรกระพริบ  <Blink>Nidchada kosit</Blink>

code ที่เขียนลงใน Note pad



แสดงผล code




7.การจัดตำแน่งข้อความ 

รูปแบบ tag code

การจัดย่อหน้าแบบชิดซ้าย    <P Align=Left>ข้อความ</P>
การจัดย่อหน้าแบบกึ่งกลาง   <P Align=center>ข้อความ</P>
การจัดย่อหน้าแบบชิดขวา    <P Align=Right>ข้อความ</P>

ตัวอย่างการเขียน

การจัดย่อหน้าแบบชิดซ้าย    <P Align=Left>นางสาว</P>
การจัดย่อหน้าแบบกึ่งกลาง   <P Align=center>นิชดา</P>
การจัดย่อหน้าแบบชิดขวา    <P Align=Right>โกสิต</P

code ที่เขียนลงใน Note pad




แสดงผล code






วันที่ 15 กรกฏาคม 2555

แหล่งที่มา